solvingscarcity.org

solvingscarcity.org

ประกันสังคมมาตรา 39 สิทธิประโยชน์

Thursday, 12-May-22 21:21:02 UTC
  1. ประกันสังคมมาตรา 33-39-40 ต่างกันยังไง ได้รับสิทธิประโยชน์อะไรบ้าง? - ชิลไปไหน
  2. ประกันสังคมมาตรา 33 สิทธิประโยชน์ 2564
  3. สิทธิประโยชน์ประกันสังคม ผู้ประกันตน ม.33 39 40 - flowsapp.com

หลายคนอาจเคยได้ยินคำว่า ผู้ประกันตน แต่หลายคนอาจยังไม่เข้าใจอย่างละเอียด วันนี้ TNN ขอนำเสนอข้อมูลผู้ประกันตน ของประกันสังคมมาตรา 39 ซึ่งเป็นผู้ประกันตนแบบสมัครใจของประกันสังคมว่าจะได้รับสิทธิอะไรบ้าง ผู้ประกันตนมาตรา 39 คือ ผู้ประกันตนโดยสมัครใจ ซึ่งเคยเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 และจ่ายเงินสมทบก่อนออกจากงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือนแล้วลาออก แต่ต้องการรักษาสิทธิประกันสังคมอยู่ โดยผู้ประกันตนมาตรา 39 มีสิทธิประโยชน์คุ้มครอง 6 กรณี ที่มาภาพ: สำนักงานประกันสังคม 1. กรณีเจ็บป่วย 1. 1 กรณีเจ็บป่วยปกติ ผู้ประกันตนที่ส่งเงินสมทบครบ 3 เดือน ภายใน 15 เดือนก่อนที่จะเจ็บป่วยสามารถเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลตามสิทธิหรือเครือข่ายสถานพยาบาลนั้นได้ฟรีโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ไม่ว่าจะเป็นค่าผู้ป่วยนอกหรือผู้ป่วยใน รวมทั้งค่าตรวจสุขภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพ เว้นแต่มีความประสงค์สิ่งอำนวยความสะดวกเช่น ห้องพิเศษ แพทย์พิเศษ ซึ่งเหล่านี้ผู้ป่วยต้องจ่ายเพิ่มเอง ซึ่งสถานพยาบาลควรเป็นสถานพยาบาลใกล้บ้านหรือที่ทำงาน 1. 2.

ประกันสังคมมาตรา 33-39-40 ต่างกันยังไง ได้รับสิทธิประโยชน์อะไรบ้าง? - ชิลไปไหน

สำนักงานประกันสังคม ได้กำหนดค่าหลักเกณฑ์สำหรับผู้ประกันตน ตามมาตรา 39 ต้องส่งเงินสมทบก่อนกี่เดือน จึงจะสามารถใช้สิทธิประกันสังคมในกรณีต่างๆ ได้ เกาะติดข่าว กดติดตาม ข่าวสด ทั้งนี้ ผู้ประกันตนมาตรา 39 จะได้รับสิทธิประโยชน์ประกันสังคมที่ต่างกันในแต่ละกรณี ดังนี้ 1. กรณีเจ็บป่วย ส่งเงินสมทบไม่น้อยกว่า 3 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนเจ็บป่วย 2. กรณีคลอดบุตร ส่งเงินสมทบครบ 5 เดือน ภายใน 15 เดือน ก่อนเดือนที่คลอดมีสิทธิ์ได้รับค่าคลอดบุตรโดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง 3. กรณีทุพพลภาพ ส่งเงินสมทบครบ 3 เดือน ภายใน 15 เดือน ก่อนเดือนที่ทุพพลภาพ 4. กรณีตาย ส่งเงินสมทบครบ 1 เดือน ภายใน 6 เดือน ก่อนถึงแก่ความตาย 5. กรณีสงเคราะห์บุตร ส่งเงินสมทบครบ 12 เดือน ภายใน 36 เดือน ก่อนเดือนที่มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทน 6กรณีชราภาพ 1. บำเหน็จชราภาพ กรณีจ่ายเงินสมทบต่ำกว่า 12 เดือน จะได้รับเงินบำเหน็จ เท่ากับจำนวนเงินสมทบเฉพาะส่วนของผู้ประกันตน กรณีจ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป แต่ไม่ครบ 180 เดือน จะได้รับเงินบำเหน็จเท่ากับจำนวนเงินสมทบส่วนของผู้ประกันตน + นายจ้าง พร้อมผลประโยชน์ทดแทนตามที่กำหนด 2. บำนาญชราภาพ ได้รับบำนาญชราภาพร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย หากมีการจ่ายเงินสมทบเกินกว่า 180 เดือน จะปรับเพิ่มขึ้นให้อีกร้อยละ 1.

กรณีเสียชีวิต ผู้ประกันตนที่ส่งเงินสมทบครบ 1 เดือน ภายใน 6 เดือนก่อนเดือนถึงแก่ความตายจะได้รับสิทธิดังนี้ - ได้รับเงินค่าทำศพ 40, 000 บาท - ได้รับเงินสงเคราะห์กรณีเสียชีวิต ที่มาภาพ: สำนักงานประกันสังคม 5. กรณีสงเคราะห์บุตร ผู้ประกันตนที่ส่งเงินสมทบครบ 12 เดือนภายใน 36 เดือน ก่อนเดือนที่มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทน จะได้รับเงินสงเคราะห์บุตรเหมาจ่ายเดือนละ 600 บาท/บุตร 1 คน/เดือน คราวละไม่เกิน 3 คน ตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปีบริบูรณ์ **โดยต้องเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย** ที่มาภาพ: สำนักงานประกันสังคม 6. กรณีชราภาพ 6. 1 เงินบำเหน็จชราภาพ เป็นเงินก้อนที่จ่ายเพียงแค่ครั้งเดียว กรณีจ่ายเงินสมทบต่ำกว่า 12 เดือน จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพเท่ากับจำนวนเงินสมทบเฉพาะส่วนของผู้ประกันตน กรณีจ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไปแต่ไม่ครบ 180 เดือน จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพเท่ากับจำนวนเงินสมทบที่ผู้ประกันตนและนายจ้างจ่ายสมทบ พร้อมผลประโยชน์ทดแทนที่ประกันสังคมกำหนด สูตรคำนวณเงินบำเหน็จชราภาพ - กรณีจ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 1-11 เดือน = เงินสมทบของผู้ประกันตนฝ่ายเดียว - กรณีจ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 12-179 เดือน = เงินสมทบผู้ประกันตน + เงินสมทบนายจ้าง + ผลประโยชน์ตอบแทน ที่มาภาพ: สำนักงานประกันสังคม 6.

ประกันสังคมมาตรา 33 สิทธิประโยชน์ 2564

สำนักงานประกันสังคมจังหวัดอ่างทอง เลขที่ 2 ถนนเทศบาล 8 ตำบลย่านซื่อ อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง 14000 จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์: 0 คน ช่องทางการติดต่อ หากมีข้อสงสัยในการเข้าสู่ระบบ ติดต่อที่ E-mail:

สิทธิประโยชน์ประกันสังคม ผู้ประกันตน ม.33 39 40 - flowsapp.com

  1. มาตรา 39 จะใช้สิทธิประโยชน์ได้เมื่อไหร่? - ข่าวสด
  2. Service - สิทธิกรณีสงเคราะห์บุตร : SSO Angthong
  3. เคส macbook air 2018 movie free download
  4. คอ ล เซ็นเตอร์ เดอะ วัน การ์ด
  5. สิทธิประโยชน์ประกันสังคมทุกมาตรา มาตรา33,39,40 ได้อะไรบ้าง - YouTube
  6. Book on the table clipart
  7. เช็กประกันสังคมมาตรา 39 ได้สิทธิอะไรบ้าง
  8. Bmw c650 gt ราคา 2020
  9. ประกันสังคมมาตรา 33 สิทธิประโยชน์ 2564

จ่ายผ่านเคาน์เตอร์หน่วยบริการ กรณีเหตุที่ทำให้ผู้ประกันตนมาตรา 39 สิ้นสภาพ 1. เสียชีวิต 2. กลับเข้าเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 3. ลาออก 4. ไม่ส่งเงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน (สิ้นสภาพตั้งแต่เดือนแรกที่ไม่ส่งเงินสมทบ) 5. ภายในระยะเวลา 12 เดือนส่งเงินสมทบมาแล้วไม่ครบ 9 เดือน (สิ้นสภาพในเดือนที่ส่งเงินสมทบไม่ครบ 9 เดือน) ทั้งนี้ ผู้ประกันตน มาตรา 39 สามารถนำเงินที่จ่ายให้กับประกันสังคมในปีนั้นๆ ไปยื่นหักลดหย่อนภาษีได้เหมือนผู้ประกันตน มาตรา 33 ได้ โดยสามารถติดต่อได้ที่สำนักงานประกันสังคมใกล้บ้านเพื่อให้เจ้าหน้าที่ออกหนังสือให้ ส่วนผู้ประกันตนมาตรา 33 สามารถเช็กสิทธิของตนเองได้ที่ >> เช็กประกันสังคมมาตรา 33 ได้สิทธิอะไรบ้าง ที่มาข้อมูล: สำนักงานประกันสังคม ที่มาภาพ: สำนักงานประกันสังคม, AFP

2 เงินบำนาญชราภาพ คือ ได้รับเงินบำนาญชราภาพร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายที่ใช้เป็นฐานคำนวณเงินสมทบก่อนเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง กรณีจ่ายเงินสมทบมากกว่า 180 เดือน (15 ปีขึ้นไป) ให้เพิ่มอัตราเงินบำนาญชราภาพขึ้นอีกร้อยละ 1. 5 ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบครบทุก 12 เดือน โดยเงินที่จ่ายจะเป็นรายเดือนตลอดชีวิต สูตรคำนวณเงินบำนาญชราภาพ ค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายคูณด้วย 20% (+ จำนวน% ที่ให้เพิ่มอีกปีละ 1. 5%) คุณสมบัติของผู้สมัคร ผู้ประกันตนมาตรา 39 ผู้มีคุณสมบัติในการสมัครเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 จะต้องเคยเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 และส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน และออกจากงานแล้วไม่เกิน 6 เดือน โดยนับตั้งแต่วันแรกที่ออกจากงาน และต้องไม่เป็นผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพจากประกันสังคม ที่มาภาพ: สำนักงานประกันสังคม หลักฐานการสมัคร ผู้ประกันตนมาตรา 39 1. แบบคำขอเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 (สปส. 1-20) 2. เงินสมทบที่ต้องนำส่งประกันสังคมเดือนละ 432 บาท ช่องทางการชำระเงินสมทบ ผู้ประกันตนมาตรา 39 1. ชำระเงิน ณ สำนักงานประกันสังคมทุกเขตใกล้บ้าน 2. หักเงินฝากผ่านบัญชีธนาคาร 3. จ่ายผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร 4.